6 เทคนิคการทำธุรกิจส่วนตัว ควบคู่กับงานประจำที่คุณไม่ควรพลาด

สำหรับพนักงานออฟฟิศทุกคน SMEMOVE เชื่อว่าคงจะมีความคิดสักแว๊บหนึ่งขึ้นมาบ้างว่าอยากจะหารายได้เพิ่มจากเดิม อยากจะเป็นเจ้าของกิจการ แต่ก็ยังไม่อยากจะลาออกจากงานไปเสี่ยง

พลาดไม่ได้กับ 5 วิธี ประหยัดภาษีอย่างไร ให้ถูกกฎหมาย

ในการจัดทำภาษีหลายกิจการมักคิดค้นวิธีการต่างๆ ในการลดค่าใช้จ่ายในการเสียภาษีไม่ว่าจะเป็นการหาคนมารับค่าใช้จ่าย เอารายจ่ายของตัวเองมาเป็นรายจ่ายของบริษัท หรือเลยไปกันจนถึงกระทั่งซื้อใบกำกับภาษีปลอม มาเพื่อลดภาษีมูลค่าเพิ่มหรือใช้ในการขอคืนภาษี

5 สุดยอดเทคนิคในการปิดการขาย ที่ได้ผลจนคุณต้องประทับใจ

การทำธุรกิจมีหลายสิ่งที่คุณต้องใส่ใจ และสิ่งที่ขาดไม่ได้นอกจากแผนการตลาดอันชาญฉลาดแล้ว เทคนิคในการทำธุรกิจต่างๆ ก็เป็นอีกหนึ่งสิ่งที่ทุกคนควรจะศึกษา หรือพัฒนาความรู้ไว้โดยเฉพาะเทคนิคในการปิดการขาย

ด่วน! แจ้งว่างงานจากโควิด-19 ยื่นขอรับเงินชดเชยจากประกันสังคมผ่านเว็บไซต์เท่านั้น ไม่ต้องมาสำนักงาน

สืบเนื่องจากการออกมาตรการยื่นขอรับเงินชดเชยจากประกันสังคมของผู้ประกันตนที่ได้รับผลกระทบ นายทศพล กฤตวงศ์วิมาน เลขาธิการสำนักงานประกันสังคม ได้ออกมาเปิดเผยถึงสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19

4 ขั้นตอนการลงทะเบียนรับเงินเยียวยา 5,000 บาทจากรัฐฯ ผ่านมือถือง่ายๆ ไม่ต้องไปธนาคาร ไม่ต้องเปิดบัญชีใหม่

อีกหนึ่งมาตรการที่ทางรัฐได้ออกมาเยียวยาประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจากไวรัสโควิด-19 (COVID-19) หลังประกาศใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ด้วยการมอบเงินเยียวยาจำนวน

เปิดขั้นตอนขอรับเงินเยียวยา 7,500 บาทต่อเดือน ทดแทนกรณีว่างงานจากประกันสังคม

จากวันที่ 24 มีนาคม 2563 ดร.ดวงฤทธิ์

ใหม่!! ครม. ออก 6 มติมาตรการภาษี พยุงผลกระทบจากโควิด-19

อย่างที่หลายๆ คนทราบกันดีอยู่แล้วว่าในปัจจุบันผลกระทบจากการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 นั้นกำลังกระจายตัวออกมาเป็นวงกว้างส่งผลให้การท่องเที่ยวหยุดชะงัก เศรษฐกิจซบเซา ซึ่งก็แน่นอนว่าทางรัฐมนตรีก็ไม่ได้นิ่งนอนใจจึงมีมติเห็นชอบ

มาตรการบรรเทาทุกข์จากกระทรวงแรงงาน ลดจ่ายเงินสมทบประกันสังคมเหลือ 4% ใน 6 เดือน

จากสถานการณ์ในปัจจุบันของประเทศไทยที่กำลังได้รับผลกระทบจากการระบาดของไวรัสโควิด-19 ทางกระทรวงแรงงานก็ไม่ได้นิ่งนอนใจในการดูแลเยียวยากลุ่มนายจ้าง และลูกจ้างที่ได้รับผลกระทบจากเรื่องราวเหล่านี้ ด้วยมาตรการลดจ่ายเงินสมทบประกันสังคมเหลือฝ่ายละ 4%